วันที่ 25 พฤศจิกายน 2563

หัวข้อ ผู้นำเสนอ ดาวน์โหลด  
สารเคมีกำจัดศัตรูพืชกับสุขภาพคนไทย นพ.ดนัย ธีวันดา
รองอธิบดีกรมอนามัย
สถานะและความสำคัญของการบริโภคผักผลไม้ที่ปลอดภัย ดร.สิรินทร์ยา พูลเกิด
มหาวิทยาลัยมหิดล
สถานการณ์สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ศรัณย์ วัธนธาดา
กรมวิชาการเกษตร
การเฝ้าระวังสุขภาพและสถิติการเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช สุธาทิพย์ บูรณสถิตนนท์
กรมควบคุมโรค
ผลการเฝ้าระวังสารพิษตกค้างและข้อเสนอระบบเฝ้าระวังของประเทศไทย ทองสุข ปายะนันทน์
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ผลการเฝ้าระวังสารพิษตกค้างและข้อเสนอระบบเฝ้าระวังของประเทศไทย ปรียาภรณ์ แจ้งการกิจ
สถาบันอาหาร
ผลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมของเกษตรกรใช้สารเคมีและอินทรีย์ ศ.ดร.พรพิมล กองทิพย์
มหาวิทยาลัยมหิดล
โรคเนื้อเน่ากับฤดูการเพาะปลูก พญ.ธิดา ยุคันตวรานันท์
โรงพยาบาลยโสธร
สถานการณ์โรคเนื้อเน่าในจังหวัดหนองบัวลำภู ทพญ.วรางคณา อินทโลหิต
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองบัวลำภู
ไกลโฟเซต: ผลกระทบต่อสุขภาพและสถานการณ์การฟ้องคดีในสหรัฐอเมริกา รศ.ดร.นพ.ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์ และ
ผศ.นพ.พรหมพิศิษฐ์ โจทย์กิ่ง
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การประเมินผลทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมของการควบคุมวัชพืชในสวนยางพาราและ
สวนปาล์มน้ำมัน
ดร.ไชยยะ คงมณี
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผลกระทบ การปรับตัว และเปลี่ยนผ่านภาคเกษตรที่อิสระจากสารเคมีร้ายแรง 3 ชนิด ดร.กฤษฎา บุญชัย
สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา
การสื่อสารการไม่ใช้สารเคมีอย่างมีส่วนร่วม กรณีศึกษาตำบลแม่สิน อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ผศ.ดร.พนิดา จงสุขสมสกุล
มหาวิทยาลัยนเรศวร
การศึกษาพฤติกรรมและทัศนคติด้านความเสี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของประชาชนกลุ่มวัยทำงาน ศิริกานต์ นากระโทก
โรงพยาบาลบ้านเหลื่อม
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเจ็บป่วยจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรของเกษตรกร สรายุ มันตาพันธ์

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2563

หัวข้อ ผู้นำเสนอ ดาวน์โหลด  
A Weed Killer and the Corruption of Science Carey Gillam Investigative Journalist
อวสานพาราควอต จุดจบไกลโฟเซต? วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ
BIOTHAI
ก้าวไปข้างหน้าสร้างระบบเกษตรและอาหารที่ปลอดภัย ดร.จตุพร เทียรมา
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ก้าวไปข้างหน้าสร้างระบบเกษตรและอาหารที่ปลอดภัย ดร.ชมชวน บุญระหงส์
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ก้าวไปข้างหน้าสร้างระบบเกษตรและอาหารที่ปลอดภัย สุนทร รักษ์รงค์ เลขาธิการสภาเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยางแห่งประเทศไทย (สคยท.)
การใช้สารสกัดพืชผักท้องถิ่นในการควบคุมโรคราน้ำค้างของเมล่อนอินทรีย์ ศิริลักษณ์ สิมลา
โครงการจัดตั้งวิทยาเขตอำนาจเจริญ มหาวิทยาลัยมหิดล
จากเทคโนโลยีงานวิจัยสู่การกำจัดสารเคมีปราบศัตรูพืชจากแปลงเพาะปลูก ศ.ดร. พวงรัตน์ ขจิตวิชยานุกูล  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประสิทธิภาพของไมโครแคปซูลน้ำมันหอมระเหยต่อการยับยั้งเชื้อรา Lasiodiplodia theobromae
สาเหตุโรคผลเน่าในลองกอง
จิราภรณ์ ปักธงไชย
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เกษตรกรรมยั่งยืน 100% ในปี พ.ศ. 2573 เป็นไปได้ ชนวน รัตนวราหะ
อดีตรองอธิบดีกรมวิชาการเกษตร
เกษตรกรรมยั่งยืน 100% ในปี พ.ศ. 2573 เป็นไปได้ วิฑูรย์ ปัญญากุล
มูลนิธิสายใยแผ่นดิน (Green Net)
เกษตรกรรมยั่งยืน 100% ในปี พ.ศ. 2573 เป็นไปได้ จันทนา อึ้งชูศักดิ์
ประธานกรรมการกำกับทิศทางแผนอาหารเพื่อสุขภาวะ สสส.
เกษตรกรรมยั่งยืน 100% ในปี พ.ศ. 2573 เป็นไปได้ ยุพดี เมธามนตรี
กองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน
เกษตรกรรมยั่งยืน 100% ในปี พ.ศ. 2573 เป็นไปได้ ภญ.ดร.ทิพิชา โปษยานนท์

โปสเตอร์วิชาการที่จัดแสดงในงาน

หัวข้อ ผู้นำเสนอ ดาวน์โหลด  
การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการควบคุมสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ในการผลิตทางการเกษตร  สุรวัฒน์ ชลอสันติ
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยโดยใช้สารชีวภัณฑ์
ประจำปีงบประมาณ 2563
เกษร หนูเดช
เทศบาลเมืองบึงกาฬ
ไมโครแคปซูลน้ำมันหอมระเหยยืดอายุการเก็บรักษาและควบคุมโรคหลังการเก็บเกี่ยวทดแทนสารเคม กฤษประติพัฒน์ เหล่าสีดา
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
การพัฒนาระบบและกลไกการจัดหาผักผลไม้และข้าว
อินทรีย์ จากชุมชนสู่อาหารของเด็กนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษา
อําเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์
นางจินดา พรหมทา
รพ.จอมพระ
การสำรวจการรับรู้ การเข้าใช้ อสม.ออนไลน์ ในการสำรวจสารเคมีทางการเกษตร
ของอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในจังหวัดอ่างทอง
จุไรรัตน์ ช่วงไชยยะ
กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค
ชีวภัณฑ์ควบคุมโรคพืชพร้อมอุปกรณ์ถังเพาะเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียที่มี
ประโยชน์แบบกึ่งอัตโนมัติ
สุวิจักขณ์ สมจินดา
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชุนในการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิต
และบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือน จังหวัดอุทัยธานี
สมนึก หงษ์ยิ้ม
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี
การขยายผลสู่ชุมชนปลอดภัย ปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ ปลอดสารพิษ วัชพล สมปาน
เทศบาลตำบลบ้านต้ำ จังหวัดพะเยา
โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช วรีรัตน์ สุนทรสุข

 

 

สอบถามเอกสารเพิ่มเติม
02-9853838
e-mail : info@thaipan.org